“ถ้าท่านทั้งหลายยึดมั่นในวาจาของเรา ท่านก็เป็นศิษย์ของเราอย่างแท้จริง" (ยน. 8:31)

พระคัมภีร์คือตำราสำหรับวัฒนธรรมต่างๆ

110.    บรรดาพระสังฆราชแห่งสมัชชาได้เน้นถึงความสำคัญ ที่จะต้องส่งเสริมความรู้เรื่องพระคัมภีร์ในหมู่ผู้ที่บทบาทในด้านวัฒนธรรม    รวมทั้งในกลุ่มผู้ที่สนใจแต่เพียงพฤติกรรมทางโลก และในหมู่ผู้ไม่มีความเชื่อด้วย[1] ในพระคัมภีร์ยังมีคำสอนดีๆด้านมานุษยวิทยาและปรัชญาที่เคยนำผลดีมาให้แก่มนุษยชาติทั้งมวลมาแล้ว[2] เราจึงต้องให้ความสำคัญของพระคัมภีร์ขึ้นอีกอย่างเต็มที่ในฐานะที่เป็นตำราเล่มใหญ่ของวัฒนธรรมต่างๆ



[1] Cfr ibid.

[2] Cfr Ioannes Paulus II, Litt.enc. Fides et ratio (14 Septembris 1998), 80: AAS 91 (1999), 67-68.

เช้าวันใหม่ใส่ใจพระวาจา

Lectio Divina-Daily 2022

เช้าวันเสาร์เราคิดถึงพระวาจา

Video อบรมพระคัมภีร์

ความรู้พื้นฐานพระคัมภีร์และหนังสือปฐมกาล

หนังสืออพยพและเลวีนิติ

หนังสือกันดารวิถีและเฉลยธรรมบัญญัติ

หนังสือโยชูวา ผู้วินิจฉัยและนางรูธ

หนังสือซามูแอล ฉบับที่ 1 และ ฉบับที่ 2

หนังสือพงศ์กษัตริย์ ฉบับที่ 1 และ ฉบับที่ 2

หนังสือพงศาวดาร เอสราและเนหะมีย์

หนังสือโทบิต ยูดิธ เอสเธอร์และมัคคาบี 1 และ 2

ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับประกาศกและประกาศกอาโมส

หนังสือประกาศกโฮเชยาและมีคาห์

หนังสือประกาศกอิสยาห์

หนังสือประกาศกโยนาห์และประกาศกเศฟันยาห์

หนังสือประกาศกนาฮูมและฮาบากุก

หนังสือประกาศกเยเรมีห์-เพลงคร่ำครวญ-บารุค

หนังสือประกาศกเอเสเคียลและดาเนียล

บทเทศน์บนภูเขา มธ. 5-7

พระวรสารนักบุญมัทธิว 10,13,18

พระวรสารนักบุญมาระโก

หนังสือกิจการอัครสาวก